วันพุธที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2554

วันครู

ประวัติวันครู ประวัติวันไห้วครู ประวัติการไหว้ครู
ครู หมายถึง ผู้อบรมสั่งสอน; ผู้ถ่ายทอดความรู้ ผู้สร้างสรรค์ภูมิปัญญา และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อนำไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองของสังคมและประเทศชาติ

ความหมายวันครูได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๐ สืบเนื่องมาจากการประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ซึ่งระบุให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการเรียกว่า คุรุสภาเป็นนิติบุคคลให้ครูทุกคนเป็นสมาชิกคุรุสภา โดยมีหน้าที่ในเรื่องของสถาบันวิชาชีพครูในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่ให้ความเห็นเรื่องนโยบายการศึกษา และวิชาการศึกษาทั่วไปแก่กระทรวงศึกษา ควบคุมจรรยาและวินัยของครู รักษาผลประโยชน์ ส่งเสริมฐานะของครู จัดสวัสดิการให้ครูและครอบครัวได้รับความช่วยเหลือตามสมควร ส่งเสริมความรู้และความสามัคคีของครู ด้วยเหตุนี้ในทุก ๆ ปี คุรุสภาจะจัดให้มีการประชุมสามัญคุรุสภาประจำปี เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้แทนครูจากทั่วประเทศแถลงผลงานในรอบปีที่ผ่านมา และซักถามปัญหาข้อข้องใจต่าง ๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของคุรุสภาโดยมีคณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาเป็นผู้ตอบข้อสงสัยสถานที่ในการประชุมสมัยนั้นใช้หอประชุมสามัคคยาจารย์ หอประชุมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และในระยะหลังใช้หอประชุมคุรุสภา ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ในที่ประชุมสามัญคุรุสภาประจำปี จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการอำนวยการคุรุสภากิตติมศักดิ์ ได้กล่าวคำปราศรัยต่อที่ประชุมครูทั่วประเทศว่า“ที่อยากเสนอในตอนนี้ก็คือว่า เนื่องจากผู้เป็นครูมีบุญคุณเป็นผู้ให้แสงสว่างในชีวิตของเราทั้งหลาย ข้าพเจ้าคิดว่าวันครูควรมีสักวันหนึ่งสำหรับให้บันดาลูกศิษย์ทั้งหลาย ได้แสดงความเคารพสักการะต่อบรรดาครูผู้มีพระคุณทั้งหลาย เพราะเหตุว่าสำหรับคนทั่วไปถ้าถึงวันตรุษ วันสงกรานต์ เราก็นำเอาอัฐิของผู้มีพระคุณบังเกิดเกล้ามาทำบุญ ทำทาน คนที่สองรองลงไปก็คือครูผู้เสียสละทั้งหลาย ข้าพเจ้าคิดว่าในโอกาสนี้จะขอฝากที่ประชุมไว้ด้วย ลองปรึกษาหารือกันในหลักการ ทุกคนคงจะไม่ขัดข้อง” จากแนวความคิดนี้ กอปรกับความคิดเห็นของครูที่แสดงออกทางสื่อมวลชนและอื่น ๆ ที่ล้วนเรียกร้องให้มีวันครูเพื่อให้เป็นวันแห่งการรำลึกถึงความสำคัญของครูในฐานะที่เป็นผู้เสียสละ ประกอบคุณงามความดีเพื่อประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นอันมาก ในปีเดียวกันที่ประชุมคุรุสภาสามัญประจำปีจึงได้พิจารณาเรื่องนี้และมีมติเห็นควรให้มีวันครูเพื่อเสนอคณะกรรมการอำนวยการต่อไป โดยได้เสนอหลักการว่า เพื่อจะได้ประกอบพิธีระลึกถึงคุณบูรพาจารย์ ส่งเสริมสามัคคีธรรมระหว่างครูและเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างครูกันประชาชน ในที่สุดคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๔๙๙ ให้วันที่ ๑๖ มกราคมของทุกปีเป็น “วันครู” โดยเอาวันที่ประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๘ เป็นวันครูและให้กระทรวงศึกษาธิการสั่งการให้นักเรียนและครูหยุดในวันดังกล่าวได้
การจัดงานวันครู
การจัดงานวันครูได้จัดเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ในส่วนกลางใช้สถานที่ของกรีฑาสถานแห่งชาติเป็นที่จัดงาน งานวันครูนี้ได้กำหนดเป็นหลักการให้มีอนุสรณ์งานวันครูไว้แก่อนุชนรุ่นหลังทุกปี อนุสรณ์ที่สำคัญคือ หนังสือประวัติครู หนังสือที่ระลึกวันครู และสิ่งก่อสร้างที่เป็นถาวรวัตถุ
     การจัดงานวันครูได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจกรรม ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดเวลา ในปัจจุบันได้จัดรูปแบบการจัดงานวันครู จะมีกิจกรรม ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. เลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ
2. ยึดมั่นในศาสนาที่ตนนับถือ ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่น
3. ตั้งใจสั่งสอนศิษย์และปฏิบัติหน้าที่ของตนให้เกิดผลดีด้วยความเอาใจใส่ อุทิศเวลาของตน ให้แก่ศิษย์ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่การงานไม่ได้
4. รักษาชื่อเสียงของตนมิให้ขึ้นชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ห้ามประพฤติการใด ๆ อันอาจทำให้เสื่อมเสียเกียรติและชื่อเสียงของครู
5. ถือปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมอันดีงามของสถานศึกษา และปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่การงานโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบแบบแผนของสถานศึกษา
6. ถ่ายทอดวิชาความรู้โดยไม่บิดเบือนและปิดบังอำพราง ไม่นำหรือยอมให้นำผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางทุจริตหรือเป็นภัยต่อมนุษย์ชาติ
7. ให้เกียรติแก่ผู้อื่นทางวิชาการ โดยไม่นำผลงานของผู้ใดมาแอบอ้างเป็นผลงานของตน และไม่เบียดบังใช้แรงงานหรือนำผลงานของผู้อื่นไป เพื่อประโยชน์ส่วนตน
8. ประพฤติตนอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบัติหน้าที่ของตนด้วยความเที่ยงธรรมไม่แสวงหาประโยชน์สำหรับตนเอง หรือผู้อื่นโดยมิชอบ
9. สุภาพเรียบร้อยประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ รักษาความลับของศิษย์ ของผู้ร่วมงานและของสถานศึกษา
10. รักษาความสามัคคีระหว่างครูและช่วยเหลือกันในหน้าที่การงาน

คำปฏิญาณตนของครู
       ข้อ 1. ข้าจะบำเพ็ญตนให้สมกับที่ได้ชื่อว่าเป็นครู
       ข้อ 2. ข้อจะตั้งใจฝึกสอนศิษย์ให้เป็นพลเมืองดีของชาติ
       ข้อ 3. ข้าจะรักษาชื่อเสียงของคณะครูและบำเพ็ญตนให้เป็น

บทสวดเคารพครูอาจารย์      
คาถา ปาเจราจริยา โหนฺติ คุณุตฺตรานุสาสกา (วสันตดิลกฉันท์)
(สวดนำ) ปาเจราจริยา โหนติ (รับพร้อมกัน) คุณุตฺตรานุสาสกา
ปญญาวุฑฺฒิกเร เต เต ทินฺโนวาเท นมามิหํ
ข้าขอประณตน้อมสักการ บุรพคณาจารย์
ผู้ก่อประโยชน์ศึกษา
ทั้งท่านผู้ประสาทวิชา อบรมจริยา
แก่ข้าในกาลปัจจุบัน
ข้าขอเคารพอภิวันท์ ระลึกคุณอนันต์
ด้วยใจนิยมบูชา
ขอเดชกตเวทิตา อีกวิริยะพา
ปัญญาให้เกิดแตกฉาน
ศึกษาสำเร็จทุกประการ อายุยืนนาน
อยู่ในศีลธรรมอันดี
ให้ได้เป็นเกียรติเป็นศรี ประโยชน์ทวี
แก่ชาติและประเทศไทย เทอญฯ


เพิ่มเติม พิธีไหว้ครูในโรงเรียน
ดอกไม้ที่ใช้ในการไหว้ครู

ในพิธีไหว้ครูนับตั้งแต่สมัยก่อน จะใช้ดอกไม้หลัก 3 อย่างในการทำพาน ซึ่งดอกไม้ ความหมายในการระลึกคุณครู ได้แก่
  1. หญ้าแพรก สื่อถึง ขอให้เรียนได้เร็วเหมือนหญ้าแพรก ที่โตได้เร็วและทนต่อสภาพดินฟ้า อากาศ ทนต่อการเหยียบย่ำ ซึ่งเปรียบเสมือน คำดุด่าของครูบาอาจารย์
  2. ดอกเข็ม สื่อถึง ขอให้มีสติปัญญาเฉียบแหลม เหมือนชื่อของดอกเข็ม
  3. ดอกมะเขือ สื่อถึง การเปรียบเทียบว่า มะเขือนั้น จะคว่ำดอกลงเสมอเมื่อจะออกลูก แสดงถึง นักเรียนที่จะเรียนให้ได้ผลดีนั้นต้องรู้จักอ่อนน้อม ถ่อมตน เป็นคนสุภาพเรียบร้อย เหมือนมะเขือที่โน้มลง
  4. ข้าวตอก สื่อถึง ความรู้ที่แตกฉาน เหมือนลักษณะของข้าวตอก
วิธีจัดงาน
การพิธีไหว้ครู ตามแบบที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดไว้ จะต้องเตรียมสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
สถานที่
  1. โต๊ะหมู่บูชา โดยตั้งไว้ที่สูงบนเวทีชิดด้านหลัง ข้างหน้ามีกระถางดอกไม้และธูปเทียน และ โต๊ะ เพื่อว่างพานดอกไม้และธูปเทียนที่นำมาบูชา
  2. หนังสือ เพื่อให้ประธานเจิม โดยเอาหนังสือวางไว้บนพาน บนโต๊ะเล็กหน้าที่บูชา
  3. ที่นั่งประธาน และ คณาจารย์ จัดไว้ข้างๆ ที่บูชา
  4. ที่นั่งสำหรับนั่งเรียน
สิ่งที่ต้องเตรียมในการไหว้ครู
  1. พานดอกไม้ มีดอกไม้ หญ้าแพรก (หมายถึง การเจริญงอกงามของสติปัญญา) ดอกมะเขือ (หมายถึง การอ่อนน้อมถ่อมตน) ดอกเข็ม (หมายถึง เฉลียวฉลาด) จัดให้สวยงาม
  2. ธูปเทียน
พิธีการ
  1. เมื่อประธานมาถึง นักเรียนทั้งหมดยืนขึ้น และ ทำความเคารพ
  2. จุดธูปเทียน นมัสการพระพุทธรูปที่แท่นหมู่บูชา
  3. เริ่มพิธีโดยการสวดมนต์
  4. หลังจากนั้นกล่าวคาถาไหว้ครู และวรรคแรกของคำไหว้ครู
  5. เมื่อกล่าวคำไหว้ครูเสร็จแล้ว ให้ว่าคาถาไหว้ครูตอนท้าย
  6. ตัวแทนนักเรียนกล่าวคำปฏิญาณตน
  7. ประธานเจิมหนังสือ เพื่อความเป็นสิริมงคล
คำไหว้ครู
(หัวหน้ากล่าวคาถาไหว้ครู) ปาเจราจะริยาโหนติ คุณุตตะรา นุสาสะกา

     ข้าขอประณตน้อมสักการ  (นักเรียนกล่าวพร้อมกัน)บูรพคณาจารย์
ผู้กอปรเกิดประโยชน์ศึกษา
     ทั้งท่านผู้ประสาทวิชา อบรมจริยา
แก่ข้าฯ ในกาลปัจจุบัน
     ข้าฯ ขอเคารพอภิวันท์ (ให้ออกเสียง อบภิวันท์) ระลึกคุณอนันต์
ด้วยใจนิยมบูชา
     ขอเดช กตเวทิตา อีกวิริยะพา
ปัญญาให้เกิดแตกฉาน
     ศึกษาสำเร็จทุกประการ อายุยืนนาน
อยู่ในศีลธรรมอันดี
     ให้ได้เป็นเกียรติเป็นศรี ประโยชน์ทวี
แก่ข้าและประเทศไทยเทอญ


(หัวหน้ากล่าวคาถาไหว้ครูตอนจบ) ปัญญาวุฑฒิ กะเรเต เต ทินโนวาเท นะมามิหังฯ
 คำปฏิญาณตน
      เราคนไทย ใจกตัญญู รู้คุณชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์
     เรานักเรียนจักต้องประพฤติตนให้อยู่ในระเบียบวินัยของโรงเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น เรานักเรียนจะต้องไม่ทำตนให้เป็นที่เดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น
วันครู
สำหรับในวันครู (วันที่ 16 มกราคม ของทุกปี) เป็นวันที่มีการจัดพิธีไหว้ครูอีกอย่างหนึ่ง ผู้ร่วมงานคือบรรดาครูบาอาจารย์ที่สอนนักเรียนในปัจจุบัน มาร่วมไหว้ครูเพื่อรำลึกถึงบูรพาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาการให้ และมีการท่องบทไหว้ครูเป็นภาษาบาลี อาจมีครูอาวุโส เป็นประธานในงานด้วย

วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2553

New Year's Day is the first day of the year, January 1st.

The celebration of this holiday begins the night before on New Year's Eve, when Americans gather to wish each other a happy and prosperous coming year. At the stroke of midnight on New Year's Eve, people cheer and sing "Auld Lang Syne." The song, which means "old long since" or roughly "the good old days," was written by Robert Burns in 1788.

Making New Year's resolutions – pledges to change for the better in the coming year – is a common activity associated with this holiday. It is traditional to make toasts on New Year's Eve as well. Typically, the old year is represented by "Father Time," an elderly man with a flowing gray beard, and the new year is represented by an infant.

One of the largest New Year's Eve celebrations in the world is at Times Square in New York City where the New Year's Eve Ball descends at the stroke of midnight. The "dropping of the ball" is a custom derived from harbor time signals, a common visual synchronization procedure once used primarily for navigation and astronomy. Times Square has been the center of worldwide attention since 1904 when the owners of One Times Square began conducting rooftop celebrations to usher in the new year.

New Year's Day is the oldest and most universal holiday. The Romans were the first to observe January 1 as New Year's Day in 153 B.C. In 1582, Pope Gregory XIII instituted the Gregorian calendar still in use today, setting January 1 as New Year's Day. Prior to this, many countries celebrated the new year on April 1st in celebration with the new spring season. It was celebrated much the same way as it is today with parties and dancing into the late hours of the night. The origin of April Fools' Day can be traced to this change.

วันพฤหัสบดีที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Christmas day

The history of Christmas dates back over 4000 years. Many of our Christmas traditions were celebrated centuries before the Christ child was born. The 12 days of Christmas, the bright fires, the yule log, the giving of gifts, carnivals(parades) with floats, carolers who sing while going from house to house, the holiday feasts, and the church processions can all be traced back to the early Mesopotamians.
Many of these traditions began with the Mesopotamian celebration of New Years. The Mesopotamians believed in many gods, and as their chief god – Marduk. Each year as winter arrived it was believed that Marduk would do battle with the monsters of chaos. To assist Marduk in his struggle the Mesopotamians held a festival for the New Year. This was Zagmuk, the New Year’s festival that lasted for 12 days.
The Mesopotamian king would return to the temple of Marduk and swear his faithfulness to the god. The traditions called for the king to die at the end of the year and to return with Marduk to battle at his side.
To spare their king, the Mesopotamians used the idea of a "mock" king. A criminal was chosen and dressed in royal clothes. He was given all the respect and privileges of a real king. At the end of the celebration the "mock" king was stripped of the royal clothes and slain, sparing the life of the real king.

The Persians and the Babylonians celebrated a similar festival called the Sacaea. Part of that celebration included the exchanging of places, the slaves would become the masters and the masters were to obey.
 

Early Europeans believed in evil spirits, witches, ghosts and trolls. As the Winter Solstice approached, with its long cold nights and short days, many people feared the sun would not return. Special rituals and celebrations were held to welcome back the sun.
 

In Scandinavia during the winter months the sun would disappear for many days. After thirty-five days scouts would be sent to the mountain tops to look for the return of the sun. When the first light was seen the scouts would return with the good news. A great festival would be held, called the Yuletide, and a special feast would be served around a fire burning with the Yule log. Great bonfires would also be lit to celebrate the return of the sun. In some areas people would tie apples to branches of trees to remind themselves that spring and summer would return.

The ancient Greeks held a festival similar to that of the Zagmuk/Sacaea festivals to assist their god Kronos who would battle the god Zeus and his Titans.
 

The Roman’s celebrated their god Saturn. Their festival was called Saturnalia which began the middle of December and ended January 1st. With cries of "Jo Saturnalia!" the celebration would include masquerades in the streets, big festive meals, visiting friends, and the exchange of good-luck gifts called Strenae (lucky fruits).
 

The Romans decked their halls with garlands of laurel and green trees lit with candles. Again the masters and slaves would exchange places
 

"Jo Saturnalia!" was a fun and festive time for the Romans, but the Christians though it an abomination to honor the pagan god. The early Christians wanted to keep the birthday of their Christ child a solemn and religious holiday, not one of cheer and merriment as was the pagan Saturnalia.

But as Christianity spread they were alarmed by the continuing celebration of pagan customs and Saturnalia among their converts. At first the Church forbid this kind of celebration. But it was to no avail. Eventually it was decided that the celebration would be tamed and made into a celebration fit for the Christian Son of God.
 

Some legends claim that the Christian "Christmas" celebration was invented to compete against the pagan celebrations of December. The 25th was not only sacred to the Romans but also the Persians whose religion Mithraism was one of Christianity’s main rivals at that time. The Church eventually was successful in taking the merriment, lights, and gifts from the Saturanilia festival and bringing them to the celebration of Christmas.
 

The exact day of the Christ child’s birth has never been pinpointed. Traditions say that it has been celebrated since the year 98 AD. In 137 AD the Bishop of Rome ordered the birthday of the Christ Child celebrated as a solemn feast. In 350 AD another Bishop of Rome, Julius I, choose December 25th as the observance of Christmas.